/ # Social & Politics / 5 min read

เชิญชวนทุกท่านอ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ + ข้อสังเกต

วันนี้(29/3/2559) เป็นวันแรกของสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ และก็เป็นวันที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ(กรธ.)ส่งร่างฉบับลงประชามติให้คณะรัฐมนตรีอีกด้วย!

กดเพื่ออ่าน ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ประเด็นที่น่าสนใจ

หลังจากที่ได้สแกนผ่านๆ (ขี้เกียจอ่าน 200กว่ามาตรา) ตอนนี้ผมก็ได้สนใจประเด็นอยู่สองสามประเด็นหลักๆ ได้แก่

1.ประเด็นเรื่องการศึกษา

มาตรา ๕๔ รัฐตองดําเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป
ตั้งแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย
รัฐตองดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษา
ตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย โดยสงเสริม
และสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการดวย
รัฐตองดําเนินการใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตาง ๆ
รวมทั้งสงเสริมใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดใหมีการรวมมือกันระหวางรัฐ องคกรปกครอง
สวนทองถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาที่ดําเนินการ กํากับ สงเสริม
และสนับสนุนใหการจัดการศึกษาดังกลาวมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมาย
วาดวยการศึกษาแหงชาติซึ่งอยางนอยตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ
และการดําเนินการและตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย
การศึกษาทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ
สามารถเชี่ยวชาญไดตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชาติ

ในการดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง
หรือใหประชาชนไดรับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐตองดําเนินการใหผูขาดแคลนทุนทรัพยไดรับ
การสนับสนุนคาใชจายในการศึกษาตามความถนัดของตน
ใหจัดตั้งกองทุนเพื่อใชในการชวยเหลือผูขาดแคลนทุนทรัพยเพื่อลดความเหลื่อมล้ํา
ในการศึกษา และเพื่อเสริมสรางและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยใหรัฐจัดสรรงบประมาณ
ใหแกกองทุน หรือใชมาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการใหผูบริจาคทรัพยสินเขากองทุน
ไดรับประโยชนในการลดหยอนภาษีดวย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกลาว
อยางนอยตองกําหนดใหการบริหารจัดการกองทุนเปนอิสระและกําหนดใหมีการใชจายเงินกองทุน
เพื่อบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว

สรุปสั้นๆง่ายๆคือ จะสนับสนุนการศึกษา 12 ปี แต่จะเปลี่ยนจากไปสนับสนุน ป.ปลาย - อาชีวะ เป็นไปสนับสนุนเด็กก่อนวัยเรียน นั้นแล

สายอาชีพค่าเทอมบานแน่ๆ :v

ร่างเบื้องต้น(ม.ค 59) นั้นระบุไว้เพียงว่าให้รัฐสนับสนุนการศึกษาภาคบังคับอย่างเดียวเท่านั้น

2.มาตรา 67 เพิ่มเติมรายละเอียดศาสนาพุทธ

มาตรา ๖๗ รัฐพึงอุปถัมภและคุมครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ในการอุปถัมภและคุมครองพระพุทธศาสนาอันเปนศาสนาที่ประชาชนชาวไทย สวนใหญนับถือมาชานาน รัฐพึงสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผหลักธรรมของ พระพุทธศาสนาเถรวาทเพื่อใหเกิดการพัฒนาจิตใจและปญญา และตองมีมาตรการและกลไกในการ
ปองกันมิใหมีการบอนทําลายพระพุทธศาสนาไมวาในรูปแบบใด และพึงสงเสริมใหพุทธศาสนิกชน
มีสวนรวมในการดําเนินมาตรการหรือกลไกดังกลาวดวย

จะเห็นได้ว่าเน้นพุทธสายเถรวาทเป็นสำคัญ เนื้อหาในวรรคเน้นศาสนาพุทธเป็นสำคัญ แต่ก็มิได้ระบุว่าศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติแต่อย่างใด

3.การคำนวณสมาชิก สส.

แนะนำให้อ่านมาตรา 91 และพิจราณา
ไม่ได้ต่างจากมาตรา 86 ในร่างเบื้องต้นเสียเท่าไหร่

4.ที่มา สว.

ตั้งแต่มาตรา 107 เป็นต้นไป หลักๆ 200 คน มาจากการเลือกกันเองของผู้เชี่ยวชาญ

ลักษณะต้องห้ามของ สว.

(๑) เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตามมาตรา ๙๘ (๑) (๒) (๓)
(๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๕) (๑๖) (๑๗) หรือ (๑๘)

(๒) เปนขาราชการ

(๓) เปนหรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เวนแตไดพนจาก
การเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมาแลวไมนอยกวาหาปนับถึงวันสมัครรับเลือก

(๔) เปนสมาชิกพรรคการเมือง

(๕) เปนหรือเคยเปนผูดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมือง เวนแตไดพนจาก
การดํารงตําแหนงในพรรคการเมืองมาแลวไมนอยกวาหาปนับถึงวันสมัครรับเลือก

(๖) เปนหรือเคยเปนรัฐมนตรี เวนแตไดพนจากการเปนรัฐมนตรีมาแลว
ไมนอยกวาหาปนับถึงวันสมัครรับเลือก

(๗) เปนหรือเคยเปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น เวนแตไดพนจาก
การเปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นมาแลวไมนอยกวาหาปนับถึงวันสมัครรับเลือก

(๘) เปนบุพการี คูสมรส หรือบุตรของผูดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ผูสมัครรับเลือกเปน
สมาชิกวุฒิสภาในคราวเดียวกัน หรือผูดํารงตําแหนงในศาลรัฐธรรมนูญหรือในองคกรอิสระ

(๙) เคยดํารงตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญนี้

ดูดีๆแล้วคิดตามนะจ้ะ 55555

ฯลฯ
จริงๆมีอีกหลายประเด็นแต่ขี้เกียจแล้ว มีหลายคนหลายกลุ่มและหลายๆฝ่ายเริ่มออกมาวิพากษ์วิจารณ์แล้ว

ข้อสังเกต

1
ร่างฉบับนี้โดยรวมคือฉบับที่เพิ่มเนื้อหาสาระให้ชัดเจนยิ่งขึ้นเป็นหลัก โดยเนื้อหาส่วนมากยังไม่ต่างจากร่างเบื้องต้นมากนัก เพิ่มความชัดเจน และกลไกในบางมาตราให้รัดกุมยิ่งขึ้น

2
คำว่าศีลธรรมอันดีกับมาตรฐานทางจริยธรรมมันคืออะไร(วะ)

สุดท้าย

ใครมีสิทธิ์ลงประชามติก็เลือกนะจ้ะว่าจะรับหรือไม่รับ คิดให้ดีๆ เพราะว่ารับแล้ว แก้ยากเหลือเกิน

เชิญชวนทุกท่านอ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ + ข้อสังเกต
Share this